หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่ององค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่ององค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หน่อยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่ององค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิมเตอร์

แผนภาพการแสดงการทำงานของคอมพิเตอร์

หน่อยความจำรอง

หน่อยรับเข้า              หน่อยประมวลผล              หน่อยส่งออก                         หน่อยความจำหลัก

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่อยสำคัญ 5 หน่อย คือ

1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit )

2. หน่วยประมวลผลกลาง ( Central processingunit : CPU )

3. หน่วยความจำหลัก ( Main Memory )

4. หน่วยความจำรอง (Secondary Memory )

5. หน่วยแสดงผล ( outpur unit )

แผนวงจรและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

เป็นอุปกรณ์ที่บรรจุอยู่ในเคส (Case)

เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้าหน่อยประมวลผล หน่วยความจำรอง

และหน่วยส่งออกต้องถูกนำามาเชื่อมต่อ กัน

การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

บัส ( bus) หมายถึงช่องทางการสื่อสารขนถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื้นๆ เช่นหน่อยความจำหลัก

อุปกรณ์ต่อพ่วงอื้นๆบัสเปรียบเสมือนช่องทางจราจร

1. บัสข้อมูล ( data bas ) ๅเป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากหน่อยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์ภายนอกหรือรับข้อมูล

จากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง

2. บัสรองข้อมูล ( address bus ) เป็นบัสที่หน่วยปะมวลผลกลางเลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใดและต่างส่ง

สัญญาเลือกเลือกออกมาบางบัสรองรับข้อมูลนี้

3. บัสควบคุม ( contro bus ) เป็นบัสที่รับสัญญา ณ การควบคุมการควบคมจ่ากหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อบังคับว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือ

จะส่งข้อมูลจากไปหน่วยประมวลผลกลาง

ระบบ บัส ทางกายภาพคือ สายทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผนวงจรหลักของเครื่องคองพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆความกว้างของผัสจะ

บับขนาด ข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่อยเป็นบิต ( bit ) เช่น บิสขนาด 8 บิตขนาก 16 บิต บิสขาด 32 บิตระบบบัสบนแบบวงจรหลักลูกแบ่งดังนี้

1. ระบบบัสแบบ พีซีไอ ( PCT ) เป้นบัสแบบ 32 บิตมีความเร็วสูงในการติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆที่ความเร็ว 33 MH ความเร็วใน

การรับ ส่งข้อมูล 133 เมไบต์ต่อวินาที ใช้กับการด์เสียงโมเด็ม และการด์เลน

2. ระบบบัสแบบ เอจีพี ( AGP ) เป็นผัสความเร็วสูงใช้การด์แสดงผลรุ่นใหม่เพื่อรองรับงานสื่อประสม ผัมชนิดนี้จะเชื่อมต่ออยู่กับ

สล็อต APG แผนวงจรหลัก 1 แผงจะมีสล็อตแบบ APG ได้เพียงสล็อตเดียว

3. ระบบบัสแบบพีซีไอเอกเพรส ( PCI Express ) เป็นระบบบัสแบบใหม่ที่มีความเร็วสูงอัตรารับส่งข้อมูล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หน่อยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่ององค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิมเตอร์

หน่อยความจำรอง

หน่อยรับเข้า                  หน่อยประมวลผล                               หน่อยส่งออก                         หน่อยความจำหลัก

      หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่อยสำคัญ 5 หน่อย คือ

1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit )

2. หน่วยประมวลผลกลาง ( Central processingunit : CPU )

3. หน่วยความจำหลัก ( Main Memory )

4. หน่วยความจำรอง (Secondary Memory )

5. หน่วยแสดงผล ( outpur unit )

แผนวงจรและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

เป็นอุปกรณ์ที่บรรจุอยู่ในเคส (Case)

เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้าหน่อยประมวลผล หน่วยความจำรอง

และหน่วยส่งออกต้องถูกนำามาเชื่อมต่อ กัน

การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

บัส ( bus) หมายถึงช่องทางการสื่อสารขนถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื้นๆ เช่นหน่อยความจำหลัก

อุปกรณ์ต่อพ่วงอื้นๆบัสเปรียบเสมือนช่องทางจราจร

1. บัสข้อมูล ( data bas ) ๅเป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากหน่อยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์ภายนอกหรือรับข้อมูล

จากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง

2. บัสรองข้อมูล ( address bus ) เป็นบัสที่หน่วยปะมวลผลกลางเลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใดและต่างส่ง

สัญญาเลือกเลือกออกมาบางบัสรองรับข้อมูลนี้

3. บัสควบคุม ( contro bus ) เป็นบัสที่รับสัญญา ณ การควบคุมการควบคมจ่ากหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อบังคับว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือ

จะส่งข้อมูลจากไปหน่วยประมวลผลกลาง

ระบบ บัส ทางกายภาพคือ สายทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผนวงจรหลักของเครื่องคองพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆความกว้างของผัสจะ

บับขนาด ข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่อยเป็นบิต ( bit ) เช่น บิสขนาด 8 บิตขนาก 16 บิต บิสขาด 32 บิตระบบบัสบนแบบวงจรหลักลูกแบ่งดังนี้

1. ระบบบัสแบบ พีซีไอ ( PCT ) เป้นบัสแบบ 32 บิตมีความเร็วสูงในการติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆที่ความเร็ว 33 MH ความเร็วใน

การรับ ส่งข้อมูล 133 เมไบต์ต่อวินาที ใช้กับการด์เสียงโมเด็ม และการด์เลน

2. ระบบบัสแบบ เอจีพี ( AGP ) เป็นผัสความเร็วสูงใช้การด์แสดงผลรุ่นใหม่เพื่อรองรับงานสื่อประสม ผัมชนิดนี้จะเชื่อมต่ออยู่กับ

สล็อต APG แผนวงจรหลัก 1 แผงจะมีสล็อตแบบ APG ได้เพียงสล็อตเดียว

3. ระบบบัสแบบพีซีไอเอกเพรส ( PCI Express ) เป็นระบบบัสแบบใหม่ที่มีความเร็วสูงอัตรารับส่งข้อมูล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แก้ปัญหาด้วยกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ

การแก้ปัญหา

ในชีวิตประจำวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาด้านการเรียน
ปัญหาด้านการงาน ปัญหาด้านการเงิน เป็นต้น เมื่อพบกับปัญหา แต่ละคน
มีวิธีที่จะจัดการหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นแตกต่างกันไปตามความรู้ ความสามารถ
และประสบการณ์ของบุคคล ซึ่งแต่ละวิธีอาจให้ผลลัพธ์เหมือนหรือแตกต่างกัน
แต่ถ้านำวิธีการแก้ปัญหาต่างๆมาศึกษาพิจารณาจะพบว่าหลายวิธีคล้ายคลึงกัน
จนสามารถสรุปเป็นทฤษฎีที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ ได้กับหลายๆปัญหา
โดยปกติแล้วมนุษย์มีกระบวนการในการแก้ปัญหาด้วยตนเองอยู่เสมอ
แต่ในบางครั้งต้องอาศัยการเรียนรู้ระดับสูง เพื่อแก้ปัญหาอย่างสมบูรณ์

 

ตัวอย่างปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา

มีนักเรียนจำนวน 3 คน คือ หวาน แหวน และหวัง แต่ละคนมีความสามารถ
อยู่ 2 อย่าง ที่ไม่ซ้ำกัน คือ  ว่ายน้ำ วิ่งเร็ว ร้องเพลง วาดภาพ คัดลายมือ
เล่นดนตรี ไม่ทราบว่าใครมีความสามารถอะไรบ้าง มีข้อมูลของครูประจำชั้น
ดังนี้
1. หวานให้เพื่อนช่วยวาดภาพเสมอ
2. แหวนไม่เคยซื้อเครื่องดนตรีเลย
3. หวังว่ายน้ำไม่เป็น
4. ครูชมเชยแหวนว่าเขียนหนังสือสวย
5. หวานซื้อรองเท้ากีฬาคู่ใหม่

6. แหวนชอบให้หวังร้องเพลงให้ฟัง
7. หวังช่วยหวานถือเครื่องดนตรี
8. หวานไม่มีชุดว่ายน้ำ

 

ขั้นตอนการแก้ปัญหา
ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
– กำหนดขอบเขตของปัญหา

– กำหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ
(Input/Output Specification )
– กำหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification)

ตัวอย่างที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนแนวทางแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ สำหรับให้คอมพิวเตอร์คำนวณหาค่าจ้างพนักงานรายชั่วโมง จากนั้นแสดงค่าจ้าง
ที่คำนวณได้
วิธีทำ 
ต้องการอะไร                  ต้องการทราบค่าจ้างพนักงานแต่ละคน
ต้องการเอาท์พุตอย่างไร  เป็นค่าจ้างสุทธิของพนักงานทางจอภาพ
ข้อมูลเข้า          รหัสพนักงาน,ชื่อพนักงาน,จำนวนชั่วโมงทำงานเก็บ
ในตัวแปรชื่อ House, ค่าจ้างรายชั่วโมงเก็บใน
ตัวแปรชื่อ PayRate

 

ตัวอย่างที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา

วิธีประมวลผล
      กำหนดวิธีการคำนวณ
ค่าจ้างสุทธิ  = จำนวนชั่วโมง X อัตราต่อชั่วโมง
ขั้นตอนการประมวลผล
1. เริ่มต้น
2. รับรหัสพนักงาน,ชื่อพนักงาน,จำนวนชั่วโมงทำงาน,ค่าจ้างรายชั่วโมง
3. คำนวณ  ค่าจ้างสุทธิ  = House  x  PayRate
4. แสดงผลลัพธ์ เป็นรหัสพนักงาน ชื่อ และค่าจ้างสุทธิ
5. จบการทำงาน

 

2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี

หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะใช้เครื่องมือช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเขียนเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมที่เรียกว่าอัลกอริทึม (Algorithm) โดยจะเขียนแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ด้วยประโยคที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ และมีรายละเอียดการทำงานพอสมควรเพียงพอที่จะนำไปเขียนเป็นโปรแกรมให้ทำงานจริง โดยอัลกอริทึมนั้นอาจเขียนให้อยู่ในรูปของรหัสจำลองหรือซูโดโค้ด (Pseudo-code) หรือเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) ก็ได้

 

การเขียนผังงาน

ผังงานเป็นแผนภาพที่แสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม โดยมีการลงรายละเอียด ใส่วิธีการ และจัดลำดับขั้นตอนของโปรแกรม ตั้งแต่เริ่มต้นจากการรับข้อมูล การประมวลผล ไปจนถึงการแสดงผลลัพธ์การทำงาน

3.การเขียนโปรแกรม
      

เปลี่ยนขั้นตอนการทำงานให้อยู่ในรูปรหัสภาษาคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจโดยอาจใช้ภาษาระดับสูง หรือระดับต่ำซึ่งสามารถเลือกได้หลายภาษา การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะต้องทำตามหลักไวยากรณ์ (syntax) ที่กำหนดไว้ในภาษานั้น

 

4.การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม

หลังจากเขียนโปรแกรมจะต้องทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น หาจุดผิดพลาดของโปรแกรมว่ามีหรือไม่ จุดผิดพลาดของโปรแกรมนี้เรียกว่าบัก (Bug) ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก(debug)

โดยทั่วไปแล้วข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมจะมีสองประเภทคือ

1. การเขียนคำสั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมภาษานั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า Syntax Error หรือ Coding Error ข้อผิดพลาดประเภทนี้เรามักพบตอนแปลภาษาโปรแกรมเป็นรหัสภาษาเครื่อง

2. ข้อผิดพลาดทางตรรก หรือ Logic Error เป็นข้อผิดพลาดที่โปรแกรมทำงานได้ แต่ผลลัพธ์ออกมาไม่ถูกต้อง

 

5.ทำเอกสารและบำรุงรักษาโปรแกรม
ขั้นตอนนี้จะทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสะดวกในการตรวจสอบข้อผิดพลาดโดยเขียนเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ

1. คู่มือการใช้ หรือ User Document หรือ User guide ซึ่งจะอธิบายการใช้โปรแกรม

2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ หรือ Program Document หรือ Technical Reference ซึ่งจะอำนวยความสะดวกในการแก้ไขโปรแกรมและพัฒนาโปรแกรมในอนาคต โดยจะมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม เช่นชื่อโปรแกรม การรับข้อมูล การพิมพ์ผลลัพธ์ขั้นตอนต่าง ๆ ในโปรแกรม เป็นต้น

 

ส่วนการบำรุงรักษาโปรแกรม (Maintainance) เป็นการที่ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องคอยตรวจสอบการใช้โปรแกรมจริง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจเกิดขึ้นในภายหลัง รวมทั้งพัฒนาโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอเมื่อเวลาผ่านไป

 

 

      

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสื่อสารข้อมูล สำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง

องค์ประกอบระบบสื่อสารข้อมูล
สำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

 

1.ข่าวสาร (Message) เป็นข้อมูลรูปแบบต่างๆ
2.ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
3.สื่อหรือตัวกลาง (Media) เป็นสื่อหรือช่องทาง ที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
4.ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
5.กฎ ข้อตกลง ระเบียบวิธีการรับส่ง(protocol)

สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
สำหรับคอมพิวเตอร์

1.สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย
1.1 สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) มี 2 ชนิด คือ
– สายคู่บิดเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshielded Twisted Pair : UTP)

– สายคู่บิดเกลียวมีฉนวนหุ้ม (Shielded Twisted Pair : STP)

1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นสื่อกลางที่มีส่วนของสายส่งข้อมูล
เป็นลวดทองแดงอยู่ตรงกลาง หุ้มด้วยพลาสติก ส่วนชั้นนอกหุ้มด้วยโลหะ
หรือฟอยล์ถักเป็นร่างแหเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน

1.3 สายใยแก้วนำแสง (Fiber-optic cable) เป็นสื่อกลางที่ใช้ส่งข้อมูล
ในรูปแบบของแสง

2.สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย
2.1 คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง
ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลกันมากๆ หรือพื้นที่ทุรกันดาร

2.2 ดาวเทียม (Satellite) ในการส่งสัญญาณดาวเทียมนั้น จะต้องมีสถานี
ภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียม

2.3 แอคเซสพอยต์ (Access Point)

ความหมายเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ รวมถึงใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resources Sharing) หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน

2. การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบเน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

3. สามารถบริหารจัดการทำงานคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องได้จากศูนย์กลาง (Centralized Management)

4. สามารถทำการสื่อสารกันในเครือข่าย (Communication) ได้หลายรูปแบบ

5. มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลบนเครือข่าย (Network Security)

 

ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)

2. เครือข่ายเมือง  (Metropolises Area Network :MAN)

3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN)

4. เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)

 

รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย
 network topology

1.การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (bus network) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่ปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Terminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใด เครื่องหนึ่ง เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย การรับส่งสัญญาณบนสายสัญญาณต้องตรวจสอบสายสัญญาณ BUS ให้ว่างก่อน จึงจะสามารถส่งสัญญาณไปบนสาย BUS ได้

2. การเชื่อต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (ring network) การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้

3. การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network)  เป็นการเชื่อมต่อสายสื่อสารจากคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องไปยังฮับ (hub) หรือ สวิตช์ (switch) ซึ่งเป็นอุปกรณ์สลับสายกลางแบบจุดต่อจุดเป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ติดต่อสื่อสารถึงกัน

4. เครือข่ายแบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกัน

อุปกรณ์เครือข่าย

1. ฮับ (hub) เป็นอุปกรณ์ที่ทวนและขยายสัญญาณเพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่นให้ได้ระยะทางที่ยาวไกลขึ้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลังการรับส่งและไม่มีการใช้ซอฟแวร์ใด ๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิดนี้ การติดตั้งทำได้ง่าย

2. โมเด็ม (modem) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาล็อก(Analog signal)ให้เป็นสัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)และในทางกลับกันก็แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก

3. การ์ด LAN (Network Interface Card – NIC) เป็นการ์ดสำหรับต่อเครื่องพีซีเข้ากับสาย LAN

4. สวิตช์ (Switching) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางในระบบเครือข่ายคล้ายHubแต่ต่างกันในเรื่องของกรทำงานและความเร็ว คือ แต่ละช่องสัญญาณ (port) จะใช้ความเร็วเป็นอิสระต่อกันตามมาตรฐานความเร็ว

5. เราท์เตอร์ (router) เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายหลายเครือข่ายที่มีขนาดต่างกันหรือใช้มาตรฐานการส่งผ่านข้อมูล (Transmission) ต่างกันสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้

 

โปรโตคอล (Protocol)

โปรโตคอล คือ ข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูล
ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลชนิดเดียวกัน
ซึ่งสามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้เหมือนกับมนุษย์ที่ใช้ภาษาเดียวกัน
ในการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันนั่น
องค์กรที่เกี่ยวข้องได้กำหนดโปรโตคอลที่เรียกว่า
มาตรฐานการจัดการระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด
(Open System International :OSI)

ชนิดของโปรโตคอล

1.ทีซีพีหรือไอพี (TCP/IP)
2.เอฟทีพี (FTP)
3.เอชทีทีพี (HTTP)
4.เอสเอ็มทีพี (SMTP)
5.พีโอพีทรี (POP3)
การถ่ายโอนข้อมูล
1.การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน (Parallel transmission)
ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทาง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุต
2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม (Serial transmission)
การถ่ายโอนข้อมูลแบบนุกรม
อาจจะแบ่งตามรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบคือ
1) สื่อสารทางเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น บางครั้งก็เรียกว่า การส่งทิศทางเดียว (unidirectional data bus) เช่น การส่งข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เป็นต้น

2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex) ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้ เช่น วิทยุสื่อสารของตำรวจ เป็นต้น

3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex) ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์เป็นต้น

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ

ความหมายและลักษณะของระบบสนเทศ

เป็นการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลและสารสนเทศอย่างป็นลำดับขั้นตอนจนทำให้เกอดสารสนเทศขึ้น

ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีทั้งที่อยู่ในรูปแบบอักษร ข้อความ ตัวเลข รูปภาพและเสีบง

สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ

  ความหมายของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ หมายถึง การจัดการข้อมูลตามขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยมีบุคลากรเป็นผู้ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

1.ฮาร์ดแวร์ เป็อุปกรณ์และเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการหรือประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

2. ซอฟต์แวร์ คือชุดคำสั่งเป็นลำดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศ

ซอฟต์แวร์มี่ 2 ประเภท คือ

2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์

3. บุคลากร คือบุคคลใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสารสนเทศ

  •      ผู้ใช้
  •       นักวิเคราะห์ระบบ
  •       นักเขียนโปรแกรม
  •       ผู้ควบคุมเครื่อง
  •       ผู้บริหารและผู้ควบคุมฐานข้อมูล
  •       หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์

4. ข้อมูล

คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี

1. ความถูกต้องแม่นยำ

2. ความทันเวลา

3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน

4. ความกะทัดรัด

5. ตรงตามความต้องการของผู้ใช้

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน ลำดับขั้นตอนในการปฏอบัติงานหรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่าสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

มี 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. รวบรวมข้อมูล

2. ตรวจสอบข้อมูล

3. ประมวลผลข้อมูล

4. จัดเก็บและดูแลรักษาข้อมูล

profile

1. นายนิรันศักดิ์ ศรีษะบาล  ชื่อเล่น แฟ้ม

เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน 2539

นาย พงศธร  สวดสม  ชื่อเล่น  บ๋อม

เกิดวันที่ 31  ตุลาคม  2539